-03.png)

Warehouse operations Design-based Decision Support System
WDDSS คืออะไร?
WDDSS คือ แพลตฟอร์มที่มีความสามารถในการจำลองสถานการณ์ (Simulation) ใช้งานได้จริงทั้งในภาคธุรกิจ และสถาบันการศึกษาโดยแสดงผลด้วยสมรรถนะ (Performance) ในมิติต่างๆ

ระดับกลยุทธ์
ช่วยผู้บริหารตัดสินใจในระดับกลยุทธ์ ได้แก่ แผนผังคลังสินค้า, จำนวนและระดับเทคโนโลยีคลังสินค้า, นโยบายจัดเก็บสินค้า, นโยบายหยิบสินค้า
ระดับปฎิบัติการ
ช่วยหัวหน้างานตัดสินใจในระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ใบสั่งงาน ตำแหน่ง และเส้นทางจัดเก็บสินค้า, ใบสั่งงาน ตำแหน่ง และเส้นทางหยิบสินค้า
Business
การเรียนรู้มากกว่า 70%
ผู้เรียนมีระดับการเรียนรู้และจดจำได้มากกว่ารูปแบบอื่น (การเรียนในห้อง การอ่าน การฟัง การสาธิต และการอภิปราย) ถึง 70%
องค์ความรู้ที่มากกว่าแค่ "เข้าใจ"
ผู้เรียนมีระดับองค์ความรู้ที่สูงกว่าความเข้าใจ ได้แก่ ประยุกต์ใช้, วิเคราะห์, วางแผน, และตัดสินใจที่เกี่ยวข้อง
ทักษะที่หาไม่ได้จากห้องเรียนทั่วไป
ผู้เรียนมีระดับทักษะที่มากขึ้น ได้แก่ สื่อสาร, ยืดหยุ่น/ปรับตัว, แก้ปัญหาเฉพาะหน้า และคิดเป็นระบบ
Education

Knowledge Level
ถ่ายทอดการใช้งานจำนวน 2 วัน
ระยะเวลาการใช้งาน 1 ปี
ร่วมออกแบบหลักสูตร ด้วย OBEM และ MC สำหรับ 3 สถาบันต้นแบบ
Service


การสร้างแผนผังคลังสินค้ารูปแบบ 3 มิติ ได้แก่ ตำแหน่งจัดเก็บ, ช่องทางเดิน, ประตูเข้า-ออก ขนาดชั้นวางสินค้า, ขนาดคลังสินค้า
3D visual warehouse

การสร้างเส้นทางการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย (MHE) บนแผนผังคลังสินค้า ด้วยการตั้งค่าอัลกอริทึม ได้แก่ simple, leebfs
OD matrix

การสร้างฐานข้อมูลของพาเลท
กำหนดประเภทพาเลท, ขนาดของพาเลท, ความสามารถสูงสุดของพาเลท
Pallet type

การนำเข้าข้อมูลพาเลท ได้แก่
รหัสพาเลท, ชื่อพาเลท, หมายเลขพาเลท, รหัสประเภทพาเลท
Pallet data

การสร้างฐานข้อมูลของสินค้า ได้แก่ ชื่อสินค้า, รหัสสินค้า, น้ำหนักและปริมาตรสินค้า, ขนาดสินค้า, อายุการเก็บรักษา
SKU data

การกำหนดพื้นที่ปฏิบัติงานให้กับอุปกรณ์ขนถ่าย (MHE) ได้แก่ รหัสโซน, ชื่อพื้นที่สามารถเลือกเป็นโซนเข้า (Inbound), โซนออก(Outbound) และ โซนจัดเก็บ (Storage)
Zone

การจับคู่ประเภทพาเลทให้กับประเภทสินค้า ได้แก่ รหัสและ ชื่อสินค้า, รหัสสินค้าและประเภท พาเลท, กำหนดจำนวนสินค้าสูงสุดที่บรรจุได้ต่อพาเลท
SKU & Pallet type

การจับคู่พื้นที่จัดเก็บให้กับประเภทสินค้า ได้แก่ รหัสและชื่อสินค้า, รหัสโซนจัดเก็บ
SKU & Zone

การจับคู่ประเภทพาเลทให้กับโซนจัดเก็บ ได้แก่ รหัสประเภทพาเลท, ชื่อประเภทพาเลท, รหัสโซนจัดเก็บ
Pallet type & Zone

การสร้างฐานข้อมูลของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่มีระดับเทคโนโลยีแตกต่างกัน ได้แก่ ความเร็ว, รัศมีวงเลี้ยว, ความสูงในการยก, ค่าซ่อมบำรุง, ราคา, จำนวนผู้ปฏิบัติงาน
Material handling equipment (MHE)

การสร้างใบการสั่ง ได้แก่ ใบส่งสินค้าของซัพพลายเออร์ และใบสั่งซื้อของลูกค้าข้อมูลที่นำเข้า ได้แก่ รหัสเอกสาร, วันที่นำเข้าเอกสาร, รหัสสินค้า, จำนวนสินค้า, เลขที่ล็อต, เลขที่ซีเรียล, วันที่หมดอายุ, วันที่พร้อมใช้งาน, อนุญาตแกะแพ็ค และรหัสพาเลท
Supplier Delivery & Customer Order
Feature highlight
Input data

การตั้งค่ากลยุทธจัดเก็บสินค้า ได้แก่ Fixed, Random, Hybrid
Put-away Strategy

การตั้งค่ากลยุทธหยิบสินค้า ได้แก่ Single order, Batch, Wave, Zone, การตั้งค่าวิธีการหยิบสินค้า ได้แก่ FIFO, FEFO
Picking Strategy

การตั้งค่าวิธีการหยิบสินค้า ได้แก่
FIFO และ FEFO
Picking Method

การค้นหาตำแหน่งและเส้นทางจัดเก็บและหยิบสินค้า ด้วยการตั้งค่าอัลกอริทึม ได้แก่ Brute force, Variable neighborhood, search (VNS), Genetic algorithm (GA)
Routing Optimization
Feature highlight
Parameters / Decision Variables

การแสดงผลการจำลองสถานการณ์
การปฏิบัติงานด้านคลังสินค้า รูปแบบ 3 มิติ
Simulation

ย้อนดูผลการแสดงผลการจำลองสถานการณ์การปฏิบัติงานด้านคลังสินค้าย้อนหลัง รูปแบบ 3 มิติ ได้แก่ เวลารายกิจกรรม, ตำแหน่งจัดเก็บ, ประเภทของอุปกรณ์ขนถ่ายที่ใช้งาน, รายการจัดเก็บ และรายการหยิบสินค้า
Replay Simulation

การรายงานผลสมรรถนะของระบบรูปแบบกราฟเส้น เช่น Throughput, Service level, Takt time VS Cycle time, Operator productivity, MHE productivity, MHE utilization, Lost-sales cost, Labor cost, MHE maintenance cost, Investment
Performance Report
Feature highlight
Output data
ถ่ายทอดการใช้งานจำนวน 2 วัน
ระยะเวลาการใช้งาน 1 ปี
สามารถเชื่อมต่อข้อมูล (API) กับระบบอื่น เช่น ERP, WMS, Express เป็นต้น